ปัญหาเรื่องนี้มักจะเกิด กับผู้เลี้ยงปลา เลี้ยง กุ้งมือใหม่ ประสบการณ์น้อย เวลาจะให้อาหารก็ไม่รู้ว่าจะให้เท่าไหร่ปลาจึงจะอิ่ม กุ้งจึงจะอิ่ม หอยแครงถึงจะอิ่ม เวลาใส่อาหารเข้าไป อาหารที่มีปริมาณโปรตีนมากๆ แล้วมันเหลือเยอะบูดเน่า ก็ทำให้เกิดแก๊สแอมโมเนีย ไนเตร ก๊าซไข่เน่า ก๊าซบีเทน น้ำที่เขียวข้น หนืดแล้วเราต้องมาคอย มีกระชอนมาช้อน คอยมาตักเอาขี้แดดบ้าง สาหร่าย บ้าง แพลงต้อนบ้าง
สาเหตุมาจากก๊าซแอมโมเนียเป็นหลักใหญ่เพราะว่ากระบวนการ ของการเกิดก๊าซแอมโมเนีย ที่เริ่มจากการบูดเน่าของโปรตีน ก็จะเป็นก๊าซแอมโมเนีย วงจรเขาเรียกแอมโมมิติเคชั่น แตกตัวไปเป็นไนไตร ไนเตรท ไนโตรเจน ไนโตรเจนก็คือ ปุ๋ยยูเรีย ถ้าใส่กับพืช เขาก็จะงามแต่ใบ ดังนั้นแพลงต้อนพืช สาหร่ายขนแมว อะไรต่างๆ ที่จัดว่ามีคอลโลฟิล ในน้ำ ก็คือพืชชนิดหนึ่ง แพลงต้อนพืชก็จะดูดกินก๊าซตัวไนเตรท ไนโตรเจนถ้าตัวขี้กุ้ง ขี้ปลามีปริมารมหาศาล เหลือเยอะ โดยเฉพาะอายุ 2-4 เดือนขึ้นไป ตัวโตขึ้น ประชากรก็จะเพิ่มขึ้น กินอาหารมากขึ้นถ้าไม่มีประสบการณ์ของเหลือจากเศษอาหารมาก เป็นหนึ่งสาเหตุแล้ว ปลากับกุ้งที่โตก็ขับถ่ายออกมาเป็นมูล เป็นขี้ ก๊าซแอมโมเนียจัดการของเหลวด้วยเช่นกัน ทำให้มีของเสียสองทาง ตัวแอมโมเนียก็จะแตกตัวเป็นไนโตรเจน ท้ายที่สุดได้ตัวไนโตรเจน เหมือนมีคนไปแอบหว่านปุ๋ย 46-0-0 ทำให้น้ำเขียวเข้มข้นหนืด แล้วเกิดปรากฏการณ์ PH แคว่งเวลากลางคืนสาหร่ายแพลงต้อนทั้งหลายคลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา เมื่อทุกเซลล์ของสาหร่ายระดม คายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมามาก เพราะว่ามันมีความเข้มข้น ขนาดที่เราต้องช้อน เพราะว่ากุ้งปลา ก็หายใจไม่ออก ปลาต้องลอยขึ้นมาหุบอากาศผิวน้ำ ตาบอดไปก็เยอะ แอมโมเนียอยู่ในน้ำมีความเข้าข้นมากกว่า แอมโนเนียที่อยู่ในตัวปลามี น้อยกว่า เหมือนกุ้งกับปลาขับถ่ายไม่ออก เกิดปัญหากุ้งปลา เครียดติดเชื้อ ตาย ถ้าเราปล่อยให้น้ำ เขียวเข้ม ข้น อืด และมีฝ้า มีขี้แดดล่องลอย มือใหม่ต้องหมั่นเช็คยอ เช็คอาหาร อย่าให้ตกค้างบูดเน่า เวลาพืช หรือแพลงตอนพืช คายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไปรวมตัวกับน้ำ ก็จะทำให้เกิด กรดคาร์บอนิก ทำให้น้ำกลางคืน PH ต่ำ
จึงเป็นพฤติกรรมเลี่ยนแบบ หรือพฤติกรรม ต่อเนื่อง จนในปัจจุบัน ว่า คนเลี้ยงกุ้ง
เลี้ยงปลา เวลาจะใส่ปูนขาว เซลล์จะบอกคุณต้องใส่ตอนกลางคืน ความจริงน้ำควรต้องให้โปร่งใสตลอดเวลา
ตัวก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ และแพลงต้อนพืชมันคือพืช
กลางคืนจะคายก๊าซคาร์บอนไดออไซด์
ในตอนกลางวัน แพลงต้อน สาหร่ายที่ทำให้เกิดน้ำเขียว
ที่กินปุ๋ยมากจากขี้กุ้งขี้ปลาที่มันเหลือ มันก็ยิ่งมีขี้กุ้ง ขี้ปลาที่มันเหลือ
ที่ไม่มีการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ที่เฉพาะเจาะจง
ไม่มีการใช้ตัวจับก๊าซแอมโมเนียเลย ตัวแอมโมเนีย
ก็มีปริมารที่สูงมากยิ่งขึ้น กลางวันเขาใช้ก๊าซคาร์บอนไดร์ออกไซด์ กลางคืน ดูด
ก๊าซคาร์บอนไดร์ออกไซด์ไปใช้ ก๊าซคาร์บอนไดร์ออกไซด์ที่ถูกเอาไปใช้อย่างปัจจุบันทางด่วน
ในตอนกลางวัน ก็ทำให้คาร์บอนไดร์ออกไซร์ในน้ำลดน้อย กรด ก็น้อยลง ทำให้กลางวันเป็นด่าง
กลางคืนเป็นกรด เรียกว่า PH แคว่ง กุ้งกับปลา เจริญเติบโตได้ไม่ดี เพราะฉะนั้นจะตัดวงจรของตัวแอมโมเนียที่เป็นปุ๋ย
ไนโตรเจน ปุ๋ยยูเรียไปเลี้ยง เจ้าแพลงต้อนทั้งหลาย เพราะเพื่อนๆ จะไปช้อน
มันช้อนทุกวันไม่ไหว ไม่หมด ต้องวงจรปุ๋ย ขี้เลน ต้องน้อย เศษอาหารตกค้างต้องน้อย
ประชากรกุ้งปลาต้องสัมพันธ์ กัน ตัวที่จะมาช่วยลดปริมาณ ของตัวโปรตีน ขี้ปลา
ขี้กุ้ง ได้ดี ก็คือ ตัว บาซิลัส ทับซิลิส
เป็นจุลินทรีย์ที่ทำงานเป็น ย่อยพวกปลาป่น
ข้าวโพดป่น เอามาเป็นวัตถุดิบของอาหารสัตว์แล้วมันเหลือ เราก็จะแก้ปัญหา
ทางชมรมเกษตรปลอดสารพิษก็จะเป็น ตัว บาซิลัส ทับซิลิส MT
เป็นตัวที่ย่อยสลายโปรตีน จากอาหารกุ้ง อาหารปลาโดยฉเพาะ มันจะช่วยลด ต้นเหตุของการเกิดแก๊ส
เขาจะไปย่อยโปรตีน กระบวนการย่อยก็จะเกิดก๊าซขึ้นมาบ้าง ไฮโดเยนซัลไฟ ก๊าซแอมโมเนีย แต่ไม่เยอะ
เพราะเรารีบย่อยมันโดยตรง และ พอมันอยู่ในรู้ของแก๊ส ที่มันเป็นอากาศ เจ้าจุลินทรีย์ไปทำอะไรเขาไม่ได้
ก๊าซก็จะล่องลอย แพลงต้อนพืชดูดเก็บกิน ตรงนี้เพื่อนๆถ้าเจอปัญหาสาหร่ายแพลงต้อนเยอะ
เวลาใช้ บาซิลัส ซับทิลิส เป็นตัวย่อยแล้วของเราเป็นบาซิลัส MT ช่วยในการย่อย เวลาอยู่รูปของแก๊สแอมโนเนีย
จุลินทรีย์เขางับไม่ได้แล้ว เราต้องใช้ หินแร่ภูเขาไฟที่มีรูพรุนเหมือนฟอง น้ำ
หว่านกระจาย ถ้าเป็นชนิดผง สเม็คไทต์ สเม็คโตไทต์ ไคลน็อพ ติโล ไลท์ แบบผงพอ หว่าน
เขาจะค่อยๆ ล่อนลงและก็จับสารแควนลอยผิวน้ำแล้วลงมาที่ก้นบ่อ
แล้วมาจับก๊าซแอมโมเนียที่ก้นบ่อ ทำให้น้ำจะใสขึ้น โปร่งขึ้น ออกซิเจนมากขึ้น
ใช้เจ้า บาซิลัส MT
ใช้เพียง ครึ่งกิโลกรัม ต่อ 1 ไร่ พอ 7 วัน
กุ้งกับปลามันจะคายของเสียเพิ่มมาอีก เราก็ใส่อาทิตย์ละครั้ง ส่วนสเม็คไทต์
เป็นหินภูเขาไฟที่จับแก๊สแอมโมเนียไนไตร ก๊าซไข่เน่า โดยตรง ก็จะช่วยแก้ปัญหา
น้ำเขียว ข้น หนืด ปลาลอยหัว ขาดออกซิเจน ปลาตาบอด อย่าลืมใช้วิธีการที่มาบอกกัน หากเกษตรกรท่านใดสนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ
เขียนและรายงานโดย
ทีมงานชมรมเกษตรปลอดสารพิษ
สอบถามเพิ่มเติมที่
02-9861680-2 หรือ โทร 084-5554210 Hotline สายด่วน 084-5554205 -9 หรือ @thaigreenagro
เสนอติชมได้ที่ Email : thaigreenago@gmail.com
